ประวัติวันสงกรานต์
ประเพณีสงกรานต์ คำว่า สงกรานต์ มาจากภาษาสันสกฤตว่า สังการ ซึ่งแปลว่า ก้าวขึ้นขึ้นหรือการย้ายที่เคลื่อนที่ โดยหมายความอีกนัยหนึงว่า เป็นเข้าสู่ศักราชราศีใหม่หรือวันขึ้นปีใหม่นั่นเอง ส่วนเทศกาลสงกรานต์นั้นเป็นประเพณีเก่าแก่ของคนไทยสืบทอดกันมาตั้งแต่โบราณคู่กันมากับประเพณีตรุษจีน จึงมีการเรียกรวมกันว่าประเพณีสงกรานต์ซึ่งหมายถึงประเพณีส่งท้ายปีเก่าต้อนรับปีใหม่นั่นเอง
ทั้งนี้วันหยุดสงกรานต์เป็นวันหยุดราชการแบ่งออกเป็น ๓ วันได้แก่ ๑๓ เมษายนเรียกว่าวันมหาสงกรานต์วันที่ ๑๔ เมษายนเรียกว่าวันเนาวันที่ ๑๕ เมษายนเรียกว่าวันเถลิงศกส่วนกิจกรรมหลัก ๆ ที่ทำในช่วงเทศการสงกรานต์ก็จะเป็นการทำความสะอาดบ้านเรือนการร่วมกันทำบุญทำทานส่งน้ำพระรดน้ำขอพรผู้ใหญ่และเล่นสาดน้ำคลายร้อนกัน
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับวันสงกรานต์
ในสมัยโบราณคนไทยที่ตะวันขึ้น ๑ คำทักทายซึ่งตกเราร้าวเดือนพฤศจิกายนหรือธันวาคมเป็นวันขึ้นปีใหม่เพราะถือว่าเป็นช่วงฤดูหนาวต่อมาในปีพ.ศ. ๒๔๓๒ ในสมัยรัชกาลที่ ๕ ได้เปลี่ยนวันขึ้นปีใหม่ให้เป็นวันที่ ๑ เมษายนแต่เมื่อสมัยในยุคของจอมพลปพิบูลสงครามปีพุทธศักราช ๒๔๘๘ ได้เปลี่ยนวันปีใหม่ให้เป็นสากลคือวันที่ ๑ มกราคมแต่กระนั้นคนไทยส่วนมากคุ้นเคยกับวันปีใหม่ไทยในเดือนเมษายนจึงกำหนดให้ ๑๓ เมษายนเป็นวันขึ้นปีใหม่ตามปฏิทินเดรี นอกจากประเทศไทยได้ที่เอาวันสงกรานต์เป็นวันขึ้นปีใหม่ประเทศมอญ พม่า ลาว เอาวันดังกล่าวเป็นวันเทศกาลฉลองวันขึ้นปีใหม่ของเขาด้วยเช่นกัน

สำหรับภาคกลางในวันที่ ๑๓ เมษายนเรียกว่า วันมหาสงกรานต์ และเป็นวันผู้สูงอายุแห่งชาติวันที่ ๑๔ เมษายนเรียกว่าวันเนา ซึ่งในสมัยพลเอกชาติชายชุณหะวัณ ได้ประกาศให้เป็นวันครอบครัว ๑๕ เมษายนเรียกว่า วันเถลิงศกครึ่งวันเริ่มจุลศักราชใหม่
สำหรับภาคเหนือในวันที่ ๑๓ เมษายนเรียกว่า วันสังขารล่อง ซึ่งมีความหมายว่าอายุ ๑๘ ปีวันที่ ๑๔ เมษายนเรียกว่า วันเนา เป็นวัน ๕ พูดจาหยาบคายเพราะเชื่อว่าจะทำให้ปากเน่าไม่เจริญ ๑๕ เมษายนเรียกว่า วันพยาวัน คือ วันเปลี่ยนศกใหม่วัน
สำหรับภาคใต้ในวันที่ ๑๓ เมษายนเรียกว่า วันเจ้าเมืองเก่าหรือ วันส่งเจ้าเมืองเก่า เพราะเชื่อว่าเทวดารักษาบ้านเมืองกลับไปชุมนุมกันบนสวรรค์วันที่ ๑๔ เมษายนเรียกว่า วันว่าง คือวันที่ปราศจากเทวดาที่จะรักษาเมืองชาวบ้านจังหวัดงานอาชีพต่างๆไปทำบุญที่วัดและในวันที่ ๑๕ เมษายนเรียกว่า วันรับเจ้าเมืองใหม่ คือวันรับเทวดาองค์ใหม่ที่ได้รับมอบหมายให้มาดูแลเมืองแทนองค์เดิมที่ใหญ่ประจำเมืองอื่นๆ
คำว่า ดำหัว ปกติแต่ว่าสระผมแต่ประเพณีสงกรานต์ล้านนาหมายถึง การแสดงความเคารพและขออโหสิกรรมที่ตนอาจจะเคยล่วงเกินพร้อมทั้งของพรจากผู้ใหญ่ไม่ว่าจะเป็นญาติผู้ใหญ่ ผู้อาวุโส ครูบาอาจารย์หรือผู้บังคับบัญชา ส่วนมากจะใช้น้ำขมิ้นส้มป่อยนำไปไหว้และผู้ใหญ่ก็จะเอาน้ำแปะบนศรีษะก็เป็นอันเสร็จพิธี

ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น